Assessment system start date
8 ตุลาคม 2024
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) คำชี้แจง
1. แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT) แบ่งเป็น 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต 2. โปรดเลือกคำตอบในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด โดยใช้ประสบการณ์ของท่านในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมา โดยผู้ตอบแบบวัดการรับรู้ต้องตอบคำถามทุกข้อ 3. แบบวัดการรับรู้ มี 2 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 การประเมินประสิทธิภาพคุณธรรมและความโปร่งใส จำนวน 30 ข้อคำถาม และตอนที่ 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบวัดการรับรู้ จำนวน 2 ข้อถาม |
|
ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ | |
ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ | |
ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ | |
ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ | |
ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต | |
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT) คำชี้แจง
|
|
ตัวชี้วัดที่ 6 คุณภาพการดำเนินงาน | |
ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร | |
ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน | |
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) | |
ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล | |
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน | |
ข้อมูลพื้นฐาน | |
O1 :: โครงสร้าง
* กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ให้แสดงแผนผังโครงสร้าง ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ |
|
O2 :: ข้อมูลผู้บริหาร
* กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ให้แสดงข้อมูลผู้บริหารในฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ |
|
O3 :: อำนาจหน้าที่
* ต้องไม่เป็นการแสดงข้อมูลกฎหมายทั้งฉบับ |
|
O4 :: แผนยุทธศาสตร์ หรือ แผนพัฒนาสถานศึกษา
|
|
O5 :: ข้อมูลการติดต่อ
|
|
O6 :: กฏหมายที่เกี่ยวข้อง แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานหรือการปฏิบัติงานของสถานศึกษา เช่น
|
|
การประชาสัมพันธ์ | |
O7 :: ข่าวประชาสัมพันธ์
|
|
การปฎิสัมพันธ์ข้อมูล | |
O8 :: Q&A
|
|
O9 :: Social Network
|
|
O10 :: นโยบายคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล
|
|
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน | |
การดำเนินงาน | |
O11 :: แผนดำเนินงานและ การใช้งบประมาณประจำปี
|
|
O12 :: รายงานการกำกับติดตาม การดำเนินงานและการใช้ งบประมาณประจำปี รอบ 6 เดือน
|
|
O13 :: รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปี
|
|
การปฏิบัติงาน | |
O14 :: คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
* กรณีมีองค์กรกลางที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติในเรื่องนั้น หน่วยงานสามารถนำข้อมูลดังกล่าวเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงานได้ |
|
การให้บริการ | |
O15 :: คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
|
|
O16 :: ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
|
|
O17 :: รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
|
|
O18 :: E-Service
หมายเหตุ: E–Service แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถขอรับบริการตามอำนาจหน้าที่ภารกิจของหน่วยงานผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น SMSS++ (School Management Support System) หมายถึง โปรแกรมสนับสนุนการบริหารจัดการของสถานศึกษา สำหรับให้บุคลากรในสถานศึกษาใช้สารสนเทศในการบริหารงานในสถานศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านบริหารงานทั่วไปด้านนโยบายและแผน ด้านงบประมาณ และด้านวิชาการโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันอื่นๆ ที่มีการปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน หรือระบบสำนักงานอัจฉริยะ โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้มาประยุกต์ใช้ในสถานศึกษา สามารถปฏิบัติงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และสามารถทำงานได้ทุกที่ ทุกเวลา |
|
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การจัดซื้อจัดจ้าง | |
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ | |
O19 :: แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือ แผนการจัดหาพัสดุ
* กรณีไม่มีการจัดจ้างที่มีวงเงินเกิน 5 แสนบาทหรือการจัดจ้างที่กฎหมายไม่ได้กำหนดให้ต้องเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้าง ให้หน่วยงานอธิบายเพิ่มเติมโดยละเอียด หรือเผยแพร่ว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในกรณีดังกล่าว |
|
O20 :: ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับ การจัดซื้อจัดจ้างหรือ การจัดหาพัสดุ
|
|
O21 :: สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือ การจัดหาพัสดุรายเดือน
*กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนใดให้เผยแพร่ว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในเดือนนั้น |
|
O22 :: รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุประจำปี
|
|
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
O23 :: นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
|
|
O24 :: การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
|
|
O25 :: หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
* กรณีมีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่มีหน้าที่กำหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องนั้น หน่วยงานสามารถนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงานได้ |
|
O26 :: รายงานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
|
|
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส | |
การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ | |
O27 :: แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
|
|
O28 :: ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
|
|
O29 :: ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียน การทุจริตและประพฤติมิชอบ
*กรณีไม่มีเรื่องร้องเรียนให้เผยแพร่ว่าไม่มีเรื่องร้องเรียน |
|
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม | |
O30 :: การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
|
|
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต | |
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต | |
นโยบาย No Gift Policy* | |
O31 :: ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จาก การปฏิบัติหน้าที่
*ผู้บริหารสูงสุดที่ดำรงตำแหน่งใน ปี พ.ศ. 2566 |
|
O32 :: การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
|
|
O33 :: รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
|
|
การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต | |
O34 :: การประเมินความเสี่ยง การทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี
|
|
O35 :: การดำเนินการเพื่อจัดการ ความเสี่ยงการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ
|
|
แผนป้องกันการทุจริต | |
O36 :: แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
*กรณีการดำเนินการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมาณ ให้ระบุในแผนว่าไม่ได้ใช้งบประมาณดำเนินการ |
|
O37 :: รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปีรอบ 6 เดือน
|
|
O38 :: รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
|
|
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส | |
มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม | |
O39 :: ประมวลจริยธรรมสำหรับ เจ้าหน้าที่ของรัฐ
* กรณีประมวลจริยธรรมจะต้องดำเนินการโดยองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบกรณีข้อกำหนดจริยธรรมจะต้องดำเนินการโดยหน่วยงานเอง |
|
O40 :: การขับเคลื่อนจริยธรรม
|
|
O41 :: การประเมินจริยธรรม เจ้าหน้าที่ของรัฐ
|
|
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน | |
O42 :: มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและ ความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
|
|
O43 :: การดำเนินการตาม มาตรการส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใสภายใน หน่วยงาน
|